ReadyPlanet.com
dot dot
bulletBUDDHISM to the NEW WORLD ERA
bullet1.Thai-ไทย
bullet2.English-อังกฤษ
bullet3.China-จีน
bullet4.Hindi-อินเดีย
bullet5.Russia-รัสเซีย
bullet6.Arab-อาหรับ
bullet7.Indonesia-อินโดนีเซีย
bullet8.Japan-ญี่ปุ่น
bullet9.Italy-อิตาลี
bullet10.France-ฝรั่งเศส
bullet11.Germany-เยอรมัน
bullet12.Africa-อาฟริกา
bullet13.Azerbaijan-อาเซอร์ไบจัน
bullet14.Bosnian-บอสเนีย
bullet15.Cambodia-เขมร
bullet16.Finland-ฟินแลนด์
bullet17.Greek-กรีก
bullet18.Hebrew-ฮีบรู
bullet19.Hungary-ฮังการี
bullet20.Iceland-ไอซ์แลนด์
bullet21.Ireland-ไอร์แลนด์
bullet22.Java-ชวา
bullet23.Korea-เกาหลี
bullet24.Latin-ละติน
bullet25.Loa-ลาว
bullet26.Luxemberg-ลักเซมเบิร์ก
bullet27.Malaysia-มาเลย์
bullet28.Mongolia-มองโกเลีย
bullet29.Nepal-เนปาล
bullet30.Norway-นอรเวย์
bullet31.persian-เปอร์เซีย
bullet32.โปแลนด์-Poland
bullet33.Portugal- โปตุเกตุ
bullet34.Romania-โรมาเนีย
bullet35.Serbian-เซอร์เบีย
bullet36.Spain-สเปน
bullet37.Srilanga-สิงหล,ศรีลังกา
bullet38.Sweden-สวีเดน
bullet39.Tamil-ทมิฬ
bullet40.Turkey-ตุรกี
bullet41.Ukrain-ยูเครน
bullet42.Uzbekistan-อุสเบกิสถาน
bullet43.Vietnam-เวียดนาม
bullet44.Mynma-พม่า
bullet45.Galicia กาลิเซียน
bullet46.Kazakh คาซัค
bullet47.Kurdish เคิร์ด
bullet48. Croatian โครเอเซีย
bullet49.Czech เช็ก
bullet50.Samoa ซามัว
bullet51.Nederlands ดัตช์
bullet52 Turkmen เติร์กเมน
bullet53.PunJabi ปัญจาบ
bullet54.Hmong ม้ง
bullet55.Macedonian มาซิโดเนีย
bullet56.Malagasy มาลากาซี
bullet57.Latvian ลัตเวีย
bullet58.Lithuanian ลิทัวเนีย
bullet59.Wales เวลล์
bullet60.Sloveniana สโลวัค
bullet61.Sindhi สินธี
bullet62.Estonia เอสโทเนีย
bullet63. Hawaiian ฮาวาย
bullet64.Philippines ฟิลิปปินส์
bullet65.Gongni-กงกนี
bullet66.Guarani-กวารานี
bullet67.Kanada-กันนาดา
bullet68.Gaelic Scots-เกลิกสกอต
bullet69.Crio-คริโอ
bullet70.Corsica-คอร์สิกา
bullet71.คาตาลัน
bullet72.Kinya Rwanda-คินยารวันดา
bullet73.Kirkish-คีร์กิช
bullet74.Gujarat-คุชราด
bullet75.Quesua-เคซัว
bullet76.Kurdish Kurmansi)-เคิร์ด(กุรมันซี)
bullet77.Kosa-โคซา
bullet78.Georgia-จอร์เจีย
bullet79.Chinese(Simplified)-จีน(ตัวย่อ)
bullet80.Chicheva-ชิเชวา
bullet81.Sona-โซนา
bullet82.Tsonga-ซองกา
bullet83.Cebuano-ซีบัวโน
bullet84.Shunda-ชุนดา
bullet85.Zulu-ซูลู
bullet85.Zulu-ซูลู
bullet86.Sesotho-เซโซโท
bullet87.NorthernSaizotho-ไซโซโทเหนือ
bullet88.Somali-โซมาลี
bullet89.History-ประวัติศาสตร์
bullet90.Divehi-ดิเวฮิ
bullet91.Denmark-เดนมาร์ก
bullet92.Dogry-โดกรี
bullet93.Telugu-เตลูกู
bullet94.bis-ทวิ
bullet95.Tajik-ทาจิก
bullet96.Tatar-ทาทาร์
bullet97.Tigrinya-ทีกรินยา
bullet98.check-เชค
bullet99.Mambara-มัมบารา
bullet100.Bulgaria-บัลแกเรีย
bullet101.Basque-บาสก์
bullet102.Bengal-เบงกอล
bullet103.Belarus-เบลารุส
bullet104.Pashto-พาชตู
bullet105.Fritian-ฟริเชียน
bullet106.Bhojpuri-โภชปุรี
bullet107.Manipur(Manifuri)-มณีปุระ(มณิฟูรี)
bullet108.Maltese-มัลทีส
bullet109.Marathi-มาราฐี
bullet110.Malayalum-มาลายาลัม
bullet111.Micho-มิโช
bullet112.Maori-เมารี
bullet113.Maithili-ไมถิลี
bullet114.Yidsdish-ยิดดิช
bullet115.Euroba-ยูโรบา
bullet116.Lingala-ลิงกาลา
bullet117.Lukanda-ลูกันดา
bullet118.Slovenia-สโลวีเนีย
bullet119.Swahili-สวาฮิลี
bullet120.Sanskrit-สันสกฤต
bullet121.history107-history107
bullet122.Amharic-อัมฮาริก
bullet123.Assam-อัสสัม
bullet124.Armenia-อาร์เมเนีย
bullet125.Igbo-อิกโบ
bullet126.History115-ประวัติ 115
bullet127.history117-ประวัติ117
bullet128.Ilogano-อีโลกาโน
bullet129.Eve-อีเว
bullet130.Uighur-อุยกูร์
bullet131.Uradu-อูรดู
bullet132.Esperanto-เอสเปอแรนโต
bullet133.Albania-แอลเบเนีย
bullet134.Odia(Oriya)-โอเดีย(โอริยา)
bullet135.Oromo-โอโรโม
bullet136.Omara-โอมารา
bullet137.Huasha-ฮัวซา
bullet138.Haitian Creole-เฮติครีโอล
bulletบุคคลแห่งปีของหนังสือพิมพ์ดี
bulletMystery World Report รายงานการศึกษาโลกลี้ลับ
bulletสารบาญโหราศาสตร์
bulletหลักโหราศาสตร์ว่าด้วยดวงกำเนิดและดวงฤกษ์รวมคำตอบคลี่คลายปัญหาข้อข้องใจเกี่ยวกับการทำนายชะตาชีวิต
bulletทุกความคิดเห็นจากเวบนี้(เริ่ม ก.พ.55)
bulletประชาธิปไตยเท่านั้น1
bulletประชาธิปไตยเท่านั้น 11
bulletทุกความคิดเห็นจากหน้า1(ก่อน ก.พ.55)
bulletทุกความคิดเห็นจากเวบบอร์ด(ถึงก.พ.55)
bulletภาค 11
bulletภาค 12
bullet54.Hmong ม้ง
bullet133.แอลเบเนีย
bullet133.แอลเบเนีย
bulletหน้าที่เก็บไว้




6.1..NWE.5..ธัมมจักก1..ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร จักรคือธรรม ไม่มีจักรอื่นสู้ได้ พาตามพุทธวาทะทุกคำในพระสูตร มาดูสาระสำคัญ ของการแสดงปฐมเทศนานี้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Thai-English

ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
จักรคือธรรม ไม่มีจักรอื่นสู้ได้

แด่วันอาสาฬหบูชา 24 ก.ค.2564

-----

 

ทรงแสดงปฐมเทศนาภายหลังทรงตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว ณ ป่า อิสิปตนมฤคทายวัน  ใกล้เมืองพาราณสี  แด่ ปัญจวัคคีย์ มาดูสาระสำคัญ ของการแสดงปฐมเทศนานี้

บทต้น

1. มัชฌิมาปฏิปทา ทรงตรัสเรื่องมัชฌิมาปฎิปทา ทางสายกลาง ก่อน โดยการละเว้นที่สุด 2 เหล่า อย่างนี้  

1.1  กามสุขัลลิกานุโยค  การหมกมุ่นในกาม

1.2. อัตตกิลมถานุโยค  การประพฤติวัตรทรมานตนให้ลำบาก

ทรงให้เหตุผลที่นักบวชไม่ควรประพฤติธรรมที่สุด 2 เหล่านี้ว่า การหมกมุ่นในกามเป็นพฤติกรรมของชาวบ้าน  เป็นธรรมอันเลว, เป็นเหตุให้ตั้งบ้านเรือน  เป็นของคนผู้มีกิเลสหนา  ไม่ประกอบด้วยประโยชน์  ส่วนการประพฤติวัตรทรมานตนให้ลำบากนั้น มีแต่ก่อให้เกิดทุกข์แก่ผู้ประกอบ  ไม่ใช่ไปจากข้าศึกคือกิเลส ไม่ประกอบด้วยประโยชน์อะไร  และทรงชี้ว่ามัชฌิมาปฏิปทานั้นคือ มรรค 8 ที่ทรงตรัสรู้มาแบบพิเศษนั้นเอง ทรงแสดงเรื่องมรรค 8 ในฐานะทางสายกลาง  ประกอบด้วยองค์ 8 ดังนี้

(1. ) สัมมาทิฏฐิ  ความเห็นชอบ

(2.) สัมมาสังกัปปะ  ความดำริชอบ

(3.)สัมมาวาจา  การกล่าวชอบ      

(4.) สัมมากัมมันตะ  การกระทำชอบ

(5.)สัมมาอาชีโว  การเลี้ยงชีพชอบ

(6.) สัมาวายามะ  ความเพียรชอบ

(7.) สัมมาสติ  ความระลึกชอบ

(8.) สัมมาสมาธิความตั้งจิตมั่นชอบ

นี่คือบทเริ่มต้นที่ทรงแสดงปฐมเทศนา  ทรงบอกให้ปัญจวัคคียได้ทราบก่อน ซึ่งน่าจะมาจากเหตุที่ปัญจวัคคีย์นั้นยังติดใจเรื่องการบำเพ็ญทุกรกิริยาของพระองค์ที่ทรงเลิกลงกลางคัน เป็นเหตุให้ปัญจวัคคีย์มองว่าทรงอ่อนแอ ไม่น่าจะพบความสำเร็จธรรมชั้นสูง และทอดทิ้งไปจากพระองค์  นั้นเอง

ทรงตรัสว่า การที่ทรงตรัสรู้เรื่องข้อปฏิบัติอันเป็นกลาง หรือทางสายกลางนี้เป็นการตรัสรู้แบบ อภิสัมพุทธา คือตรัสรู้แบบพิเศษ ทางสายกลาง(ข้อปฏิบัติอันเป็นกลาง)  เป็นทางปฏิบัติที่จะส่งผลดี ย่อมเป็นไปเพื่อเข้าไปสงบระงับจากกิเลส  เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี เพื่อความดับ ดังนี้

(1.)  เกิดดวงตาเห็นธรรม

(2.) ก่อให้เกิดปัญญา

(3.) เป็นไปเพื่อความสงบ ระงับกิเลส

(4.) เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง

(5.) เป็นไปเพื่อความรู้แจ้ง

(6.)  เป็นไปเพื่อความดับทุกข์

จะเห็นว่า ปฐมเทศนานี้ มิได้ทรงตรัสรายละเอียดลงไป แต่ทรงวางหัวข้อธรรมสำคัญที่สุดเอาไว้ก่อน นั่นคือทรงวางโครงสร้างทั้งหมดลงไว้ก่อน ซึ่งมีอยู่ 3 โครงสร้าง นั้นก็คือ  เรื่อง มัชฌิมาปฏิปทา(ข้อปฏิบัติอันเป็นกลาง),  เรื่องมรรค 8, และ เรื่องอริยสัจ 4    เริ่มแต่เรื่อง มัชฌิมาปฏิปทา ที่ในลำดับการแสดงพระธรรมลำดับต่อไป ภายหลังบังเกิดพระรัตนตรัยแล้ว  ธรรมที่ทรงแสดง อันครบถ้วนทั้ง ปริยัต  ปฏิบัติ และปฏิเวธ  ก็ล้วนแต่อธิบายออกไปจาก มัชฌิมาปฏิปทา(ข้อปฏิบัติอันเป็นกลาง), มรรค 8, และอริยสัจ 4 นี้เอง  โดยเฉพาะสำหรับฝ่ายฆราวาส หรือ บุคคลทั้งหลายที่มิใช่นักบวช ก็สามารถทำความเข้าใจจาก มรรค 8 ได้อย่างลึกซึ้งถึงมรรคผล นิพพานได้เช่นกัน   สิ่งที่ทรงแสดงปฐมเทศนา  จึงไปเน้นทางปฏิบัติแบบให้มีสัมมาทิฏฐิแบบไหนไว้ก่อน  แบบว่าให้ตระหนักในการประพฤติอย่างไรจึงจะนำไปสู่ความรู้แจ้งเรื่องมรรคผลนิพพานได้ สำหรับคนทั้งหลายทุกยุคทุกสมัย โดยจะเห็นว่าทรงเล่าเรื่องของพระองค์เอง   ซึ่งทรงเอาพระองค์เองเป็นตัวอย่างในเรื่องการตรัสรู้ของพระองค์ และทรงประกาศพระองค์เป็นองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า  ผู้สำเร็จอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ โดยที่ในปฐมเทศนานี้  ทรงประพฤติปฏิบัติธรรมอย่างไร ที่ทรงเรียกว่า 3 รอบ 12 ความประพฤตินั้นเอง ทรงให้เรียนรู้เอาอย่าง อย่างไร  ที่ เป็นสุดยอดตัวอย่างของความประพฤติธรรม ที่ทรงแสดงเพื่อให้สานุศิษย์ทั้งหลายเอาไปประพฤติตาม  จึงจะสำเร็จมรรคผลระดับสูงสุดแม้ระดับพระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณได้ 

บทกลาง

2.  ความเข้าใจเรื่องอริยสัจ 4 แบบโครงสร้างตามที่ทรงสอนในพระธัมมจักกนี้

2.1.  ทุกข์  ทรงตรัสเรื่องทุกข์ เป็นอริยสัจ ทรงนิยามว่า

(1.) ความเกิดจัดเป็นทุกข์

(2.) ความแก่จัดเป็นทุกข์

(3.) ความตายจัดเป็นทุกข์

(4.) ความเศร้าโศก ความร่ำไร ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ และความคับแค้นใจจัดเป็นทุกข์

(5.) การพบกับอารมณ์ที่ไม่ชอบจัดเป็นทุกข์

(6.) การพลัดพรากจากอารมณ์ที่ชอบจัดเป็นทุกข์

 (7.) การไม่ได้รับอารมณ์ที่ปรารถนาจัดเป็นทุกข์

(8.) การปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้น จัดเป็นทุกข์

2.2 สมุทัย(ทุกขสมุทัย) เหตุให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหา ความทะยานอยาก 3 ประการ  (ที่คนทั้งหลายต้องเข้าใจเชิงวิทยาศาสตร์ ว่านี่เป็นเหตุ ที่นำไปสู่ผล คือทุกข์  จะให้พ้นทุกข์ ต้องทำลายเหตุแห่งทุกข์ให้ได้เท่านั้นเอง)  เหตุให้เกิดทุกข์(สมุทัย) มี 3 เหตุ ดังนี้  ก็ข้อนี้แลเป็นความดับทุกข์  ความดับโดยสิ้นกำหนัด โดยไม่เหลือแห่งตัณหานั้น  ความสละตัณหานั้น  ความวางตัณหานั้น  การปล่อยตัณหานั้น  ความไม่พัวพันแห่งตัณหานั้น

(1.) กามะตัณหา ความทะยานอยากในกาม: ความทะยานหยากในอารมณ์ที่ใคร่  

(2.) ภะวะตัณหา ความทะยานอยากในความมีความเป็น: ความผูกพันที่มีความเห็นผิดว่าภพเที่ยง ความอยากเป็นอยู่  

(3.) วิภะวะตัณหา ความทะยานอยากในความไม่มี ไม่เป็น:  ความผูกพันที่มีความเห็นผิดว่าภพขาดสูญ ความอยากพรากพ้นไปจากภาวะที่ไม่ปรารถนา

2.3 นิโรธ(ทุกขนิโรธ(ความดับทุกข์) ได้แก่ความดับสนิทตัณหานั้นทั้งหมด ความสละตัณหานั้น  ความปล่อยตัณหานั้น  ความวางตัณหานั้น และความไม่พัวพันตัณหานั้น

2.4 มรรค(ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา)  ข้อปฏิบัติอันเป็นทางให้เข้าถึงความดับทุกข์ ได้แก่อริยมรรค มีองค์ 8นี้นั่นเอง 

(1. ) สัมมาทิฏฐิ  ความเห็นชอบ

(2.) สัมมาสังกัปปะ  ความดำริชอบ

(3.)สัมมาวาจา  การกล่าวชอบ         

(4.) สัมมากัมมันตะ  การกระทำชอบ

(5.)สัมมาอาชีโว  การเลี้ยงชีพชอบ

(6.) สัมาวายามะ  ความเพียรชอบ

(7.) สัมมาสติ  ความระลึกชอบ

(8.) สัมมาสมาธิความตั้งจิตมั่นชอบ

เรื่องที่พอสรุปลงเป็นความเข้าใจเบื้องต้น  ก็คือ  กล่าวโดยสรุป ชีวิตอันประกอบด้วยขันธ์ 5 (รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) นั้นเองเมื่อมีการเกิดมา  จนถึงการตาย ล้วนเป็นทุกข์(ตายไปแล้วก็เป็นทุกข์ต่อไป)  ที่คนเราเข้าไปยึดมั่น จัดเป็นทุกข์   ยังเป็นภาพธรรมที่ธรรมดา ๆ อยู่ ไม่ฝังใจลึกลงไปถึงสัจธรรมแห่งชีวิต ที่ต้องมีการเกิด แก่ เจ็บ และ ตาย มีสภาวะของ  อนิจจัง  ทุกขัง  และ  อนัตตาอย่างลึกซึ้ง สามารถมองเห็นความต่อเนื่องไปได้ถึงชาติหน้า  หรือ ย้อนถอยหลังกลับไปสู่ชาติอดีตก่อนๆ นับล้าน ๆ โกฏิปีได้ นั้นแหละเป็นพลังแห่งการเบื่อหน่ายในวัฏฏะสงสาร  จนเป็นเหตุแห่งความหน่ายละคลายความยึดมั่นถือมั่น จนสามารถชำระล้างกิเสภายใน คือตัณหาทั้ง 3 นั้นให้ละลายหมดสิ้นไปได้ บรรลุมรรคผลได้พลันทันทีที่กิเลสถูกชำระล้างไปจากความหน่ายนั้นเอง(ซึ่งทรงแสดงในอนัตตลักขณะสูตรต่อจนยังผลให้ปัญจวัคีย์ทั้ง 5 บรรลุอรหัตผลได้พร้อมกัน)  

 

และที่จริง  ปฐมเทศนานี้  จึงเป็นการปรากฏพระองค์ออกมาแสดงตนของพระองค์ประกาศพระองค์ว่า  ทรงได้ตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ  หรือเป็นการประกาศตนเป็นพระพุทธเจ้าองค์ใหม่นั้นเอง แต่ทรงแสดงเหตุผลว่า การเป็นพระพุทธเจ้าได้นั้น ต้องบำเพ็ญธรรม 3 รอบ 12 พฤติกรรมอย่างไร ความเป็นจริงที่มีรอบ 3 มีอาการ 12อย่างนี้ในอริยสัจสี่  และนั้นเองเป็นสาระสำคัญของธัมมจักกัปปวัตตนสูตร จักรแห่งธรรมที่หมุนไปไม่มีจักรอื่นต้านทานได้

 

บทปลาย

และครั้นทำความเข้าใจ มัชฌิมาปฏิปทา, มรรค 8,  และอริยสัจ 4 โดยกว้างแล้ว   เรามาศึกษารอบ 3 อาการ 12 อย่างนี้ในอริยสัจ 4 อันเป็นหลักการปฏิบัติธรรมชั้นสูง ระดับมุ่งสำเร็จพระโพธิญาณ เช่นเดียวกับพระพุทธเจ้าสมณโคดมพระองค์นี้   ซึ่งสาวก สานุศิษย์ คนทั้งหลาย ชายหญิง สามารถเอาเป็นแบบอย่างอันสมบูรณ์ได้  ดังจะขอย่อมา เพื่อให้เข้าใจง่าย ๆ ในสิ่งที่พระองค์ทรงประกาศหรือที่ทรงบอกให้ทราบ ในพระปฐมเทศนา เป็นเรื่องๆ ไปดังต่อไปนี้

1. ทุกข์
1.1 ทรงบำเพ็ญบารมีจนบังเกิด จักขุ ญาณ ปัญญา วิชชา และแสงสว่าง (จักขุง อุทะปาทิ,ญานัง อุทะปาทิ, ปัญญาอุทะปาทิ, วิชชา อุทะปาทิ,อาโลโก อุทะปาทิ)  จึงทรงรู้แจ้งว่านี้เป็นทุกข์อริยสัจ(คือทรงรู้ว่านี่คือความจริงล้ำเลิศเรื่องทุกข์ของชีวิตและสรรพสิ่งแบบหมดความสงสัยไปทั้งสิ้น)

1.2 ทรงบำเพ็ญบารมีจนบังเกิด จักขุ ญาณ ปัญญา วิชชา และแสงสว่าง (จักขุง อุทะปาทิ,ญานัง อุทะปาทิ, ปัญญาอุทะปาทิ, วิชชา อุทะปาทิ,อาโลโก อุทะปาทิ)  จึงทรงรู้แจ้งว่าอริยสัจคือทุกข์เป็นธรรมที่ควรกำหนดรู้ (คือเป็นสิ่งที่จำเป็นต้องรู้แจ้งเห็นจริงอย่างละเอียดชัดเจนทุกเรื่องที่เกี่ยวข้องและทุกขั้นตอนที่กำหนดรู้ แบบหมดความสงสัยไปทั้งสิ้น)

1.3  ทรงบำเพ็ญบารมีจนบังเกิด จักขุ ญาณ ปัญญา วิชชา และแสงสว่าง (จักขุง อุทะปาทิ,ญานัง อุทะปาทิ, ปัญญาอุทะปาทิ, วิชชา อุทะปาทิ,อาโลโก อุทะปาทิ)   ทรงได้กำหนดรู้อริยสัจคือทุกข์นั้นแล้ว(ทรงรู้แจ้งเห็นจริงอย่างละเอียดชัดเจนทุกเรื่องที่เกี่ยวข้องและทุกขั้นตอนที่กำหนดรู้ แบบหมดความสงสัยไปทั้งสิ้น)

2. สมุทัย(ทุกข์สมุทัย)

2.1  ทรงบำเพ็ญบารมีจนบังเกิด จักขุ ญาณ ปัญญา วิชชา และแสงสว่าง (จักขุง อุทะปาทิ,ญานัง อุทะปาทิ, ปัญญาอุทะปาทิ, วิชชา อุทะปาทิ,อาโลโก อุทะปาทิ)    จึงทรงรู้อริยสัจคือทุกข์สมุทัย  เหตุแห่งทุกข์(คือทรงรู้ว่านี่คือความจริงล้ำเลิศเรื่องเหตุแห่งทุกข์ของชีวิตและสรรพสิ่งแบบหมดความสงสัยไปทั้งสิ้น)

2.2  ทรงบำเพ็ญบารมีจนบังเกิด จักขุ ญาณ ปัญญา วิชชา และแสงสว่าง (จักขุง อุทะปาทิ,ญานัง อุทะปาทิ, ปัญญาอุทะปาทิ, วิชชา อุทะปาทิ,อาโลโก อุทะปาทิ)    จึงทรงรู้ว่าอริยสัจทุกข์สมุทัยเป็นธรรมที่ควรละ ควรตัดขาดไปให้ได้ (คือทรงรู้ว่านี่คือความจริงล้ำเลิศเรื่องทุกข์ของชีวิตและสรรพสิ่งแบบหมดความสงสัยไปทั้งสิ้นว่า จะต้องละเลิกตัดขาดไปไม่ปฏิบัติเหตุแห่งทุกข์นี้ให้ได้)

2.3  ทรงบำเพ็ญบารมีจนบังเกิด จักขุ ญาณ ปัญญา วิชชา และแสงสว่าง (จักขุง อุทะปาทิ,ญานัง อุทะปาทิ, ปัญญาอุทะปาทิ, วิชชา อุทะปาทิ,อาโลโก อุทะปาทิ)    จึงทรงได้ละอริยสัจทุกข์สมุทัยเหตุแห่งทุกข์ได้แล้ว(คือทรงละเลิกไม่กระทำหรือตัดขาดไปจาก กามตัณหา  ภะวะตัณหา และ วิภะวะตัณหา สิ่งที่เป็นเหตุแห่งทุกข์ไปได้เรียบร้อยแล้ว)

3. นิโรธ(ทุกขนิโรธ)

3.1 ทรงบำเพ็ญบารมีจนบังเกิด จักขุ ญาณ ปัญญา วิชชา และแสงสว่าง (จักขุง อุทะปาทิ,ญานัง อุทะปาทิ, ปัญญาอุทะปาทิ, วิชชา อุทะปาทิ,อาโลโก อุทะปาทิ)    จึงทรงรู้แจ้งอริยสัจนิโรธ อริยสัจที่เป็นความดับทุกข์

3.2 ทรงบำเพ็ญบารมีจนบังเกิด จักขุ ญาณ ปัญญา วิชชา และแสงสว่าง (จักขุง อุทะปาทิ,ญานัง อุทะปาทิ, ปัญญาอุทะปาทิ, วิชชา อุทะปาทิ,อาโลโก อุทะปาทิ)    จึงทรงรู้แจ้งอริยสัจคือทุกข์นิโรธ ว่าเป็นธรรมที่ควรรู้แจ้ง

3.3 ทรงบำเพ็ญบารมีจนบังเกิด จักขุ ญาณ ปัญญา วิชชา และแสงสว่าง (จักขุง อุทะปาทิ,ญานัง อุทะปาทิ, ปัญญาอุทะปาทิ, วิชชา อุทะปาทิ,อาโลโก อุทะปาทิ)   จึงทรงรู้แจ้งอริยสัจคือทุกข์นิโรธ: ทรงตรัสว่า เราได้รู้แจ้งอริยสัจคือทุกขนิโรธนั้นแล้ว

4. มรรค(อริยมรรค) ความดับทุกข์

4.1 ทรงบำเพ็ญบารมีจนบังเกิด จักขุ ญาณ ปัญญา วิชชา และแสงสว่าง (จักขุง อุทะปาทิ,ญานัง อุทะปาทิ, ปัญญาอุทะปาทิ, วิชชา อุทะปาทิ,อาโลโก อุทะปาทิ)   จึงทรงรู้แจ้งอริยสัจอริยมรรคที่เป็นความดับทุกข์

4.2 ทรงบำเพ็ญบารมีจนบังเกิด จักขุ ญาณ ปัญญา วิชชา และแสงสว่าง (จักขุง อุทะปาทิ,ญานัง อุทะปาทิ, ปัญญาอุทะปาทิ, วิชชา อุทะปาทิ,อาโลโก อุทะปาทิ)    จึงทรงรู้แจ้งว่าอริยสัจอริยมรรคเป็นธรรมที่ควรอบรม

4.3 ทรงบำเพ็ญบารมีจนบังเกิด จักขุ ญาณ ปัญญา วิชชา และแสงสว่าง (จักขุง อุทะปาทิ,ญานัง อุทะปาทิ, ปัญญาอุทะปาทิ, วิชชา อุทะปาทิ,อาโลโก อุทะปาทิ)    จึงทรงได้อบรมอริยสัจที่เป็นทางดับทุกข์นี้เต็มสมบูรณ์แล้ว

นี่คือบารมี สิ่งที่ทรงได้บำเพ็ญมาครบสมบูรณ์  โดยครบสมบูรณ์แบบมีรอบ 3  มีอาการ 12  ดังที่ทรงแสดงไว้นั่นเอง ดังจะเห็นจากพระวาทะทรงตรัสต่อไปต่อเนื่องว่า

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตราบใดที่ปัญญารู้เห็นตามความเป็นจริงที่มีรอบ 3 มีอาการ 12 อย่างนี้ในอริยสัจสี่  ยังไม่หมดจดแก่ตถาคต  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตราบนั้นตถาคตยังไม่ปฏิญญาณว่าเป็นผู้ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยมในโลก ที่มีเทวดา  มาร และ พรหม ในเหล่าสัตว์ที่มีสมณ พราหมณ์ พร้อมด้วยเทวดาและมนุษย์

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตราบใดที่ปัญญารู้เห็นตามความเป็นจริงที่มีรอบ 3 มีอาการ 12 อย่างนี้ในอริยสัจสี่  ได้หมดจดแก่ตถาคต  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อนั้นตถาคตจึงปฏิญญาณว่าเป็นผู้ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยมในโลกที่มีเทวดา  มาร และ พรหม ในเหล่าสัตว์ที่มีสมณ พราหมณ์ พร้อมด้วยเทวดาและมนุษย์

ก็แล ปัญญาอันรู้เห็นได้เกิดขึ้นแก่เราแล้ว  ว่าการพ้นพิเศษของเราไม่กลับกำเริบ ชาตินี้เป็นที่สุดแล้ว บัดนี้ไม่มีความเกิดอีก

พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสธรรมจักรนี้แล้ว พระภิกษุปัญจวัคคีย์ปลาบปลื้มพระภาษิตของพระองค์ดังนี้แล

บทจบ

เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสพระธรรมเทศนาธรรมจักรนี้อยู่ ดวงตาเห็นธรรมอันปราศจากธุลีปราศจากมลทิน ได้บังเกิดแด่ท่านโกณฑัญญะว่า “สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดาแล้ว  สิ่งนั้นทั้งปวง ก็ต้องดับสลายไปเป็นธรรมดา“

ณกาลนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเปล่งพระอุทานว่า “ท่านทั้งหลาย โกณฑัญญะรู้แล้วหนอ ท่านทั้งหลาย โกณฑัญญะรู้แล้วหนอ”  ฉะนั้น ท่านโกณฑัญญะจึงได้ปรากฏนามนี้ว่า “อัญญาโกณฑัญญะ พระโกณฑัญญะผู้รู้แล้ว” ฉะนี้แลฯ.

ในลำดับ 45 ปีต่อมา จึงทรงแสดงธรรมอันล้ำเลิศที่ให้ความรู้ และการรู้แจ้งเรื่องสัจธรรมแห่งชีวิตนำไปสู่ความหลุดพ้น ที่ความพ้นทุกข์ สู่ความสุขนิรันดรแห่งโลกนิพพาน มากมายกลายเป็นพระคัมภีร์ไตรปิฏก 84000 พระธรรมขันธ์ ที่ล้วนอธิบายขยายความจากพระธัมมจักกัปปวัตตนสูตรนี้ทั้งสิ้น

วันอาสาฬหบูชาปีนี้ 24 ก.ค.2564  จึงเป็นวันรำลึกถึงแสงสว่างแห่งพุทธธรรมที่พวยพุ่งขึ้นไปเบื้องบนและสว่างไสวไปทั่วโลก มาตราบเท่าทุกวันนี้ และในอนาคตกาลนานนับไปสู่ปีที่  5000 ต่อไป.....

-----
-----

 

Thai-English

Dhammacakkappavattana Sutta

Chakra is Dharma, no other chakra can fight it.

On Asanha Bucha Day 24 July 2021

-----

 

His Highness delivered his first sermon after his enlightenment at Anutara Samakothi at the forest of Isipat Maruekhathayawan. Near the city of Varanasi, to Panchawak Key, come to see the essence of this first sermon

intro

1. Matchima Patipada He spoke first about the middle path, by refraining from these two extremes.

1.1 Kamasukhalikanuyoga erotic obsession

1.2. Attakilathanuyok Difficult behavior

His Highness gave reasons why priests should not practice these two most dharmas that preoccupation with eroticism is the behavior of villagers. It is a bad law, causing the establishment of houses. belonging to a person who has a thick passion not useful As for the behavior that tortures oneself but causing suffering to entrepreneurs not from the enemy is passion does not contain any benefit and pointed out that the Madhima Patipada is the eightfold path that He had attained special enlightenment. He presented the 8th path as the middle path. It consists of 8 elements as follows:

(1.) Right view

(2.) Right thinking

(3.) Right speech, right speech

(4.) Right action

(5.) Samma Ajivo livelihood like

(6.) Samawayama, right perseverance

(7.) Right mindfulness, right mindfulness

(8.) Right concentration of the mind

This is the beginning of His first sermon. He told Panchavakki to know first. This is probably due to the fact that Panchawakki was still fascinated by the practice of His Highness who gave up halfway. This caused Panchawakki to see His Majesty as weak. It is unlikely to find high moral success. and abandoned him

He said that the enlightenment of the impartial practice Or this middle path is Abhisambuddha enlightenment, which is special enlightenment. The middle path (neutral practice) is a practice that will yield good results. It is possible to enter into peace and cessation from defilements. for knowledge for good knowledge, for cessation as follows:

(1.) eyes to see Dharma

(2.) cause wisdom

(3.) It is for peace, cessation of defilements.

(4.) Going for higher knowledge

(5.) It is for enlightenment.

(6.) leading to the cessation of suffering

It can be seen that the first sermon did not explain the details. But he put the most important dharma topic first. That is, His Highness laid down all the structures first. There are three structures, namely, Majjhima Patipada (Neutral practice), Eightfold Path, and Four Noble Truths. middle path that in the order of the next teaching of the Dharma After the birth of the Triple Gem The Dharma that He showed which is complete, both pariyat, practice and denial are all explained from This is the Majjhima Patipada (Neutral Practice), the Eightfold Path, and the Four Noble Truths, especially for lay people or non-priests. I was able to understand from the 8th fold deeply to the result. Nirvana as well His first sermon Therefore, we focus on the practice of having right view first. The way to be aware of how to behave in order to lead to enlightenment about the path of nirvana. For people of all ages You will see that He tells the story of himself. which took Himself as an example of His enlightenment and proclaimed him as the Lord Buddha Achievers which in this first sermon How do you practice Dharma? which He called 3 rounds of 12 behavior itself. He taught them to learn by example, which is the ultimate example of dharma conduct. which he showed for the disciples to follow so that the highest level of path can be achieved, even at the level of Anutaratta.

 

middle chapter

2. Understanding of the Four Noble Truths, the structure as taught in this Dhammacakka

2.1. Suffering. He spoke about suffering as the Noble Truth. He defined it as:

(1.) Birth is considered suffering.

(2.) Old age is suffering.

(3.) Death is considered suffering.

(4) Sorrow, lamentation, bodily suffering, sorrow, and despair are suffering.

(5.) Encountering an emotion that does not like to be miserable

(6.) Separation from feelings of misery

 (7.) Not receiving the desired emotion is suffering.

(8.) Desire for nothing is suffering.

2.2 Samudaya (Dukkhasamudaya) The cause of suffering is lust and desire for three things (that people must understand scientifically. that this is the cause that leads to the result, which is suffering, that will bring relief from suffering The cause of suffering (Samudaya) has three causes: this is the cessation of suffering. eternal cessation without the rest of that lust the renunciation of that lust that lust letting go of that lust the impermanence of that lust

(1.) kama lust, lust for sensual pleasures: lust for lust

(2.) Bhava tanha, the ambition for existence: the bond with the mistaken view of the eternal existence. desire to live

(3.) Vibhava-tanha, craving for non-existence, not being: attachment with the mistaken view that existence is missing. The desire to escape from the state of undesirable

2.3 Nirodha (Dukkha Nirodha (the cessation of suffering) is the cessation of all cravings. the renunciation of that lust the release of lust that lust and the lack of entanglement

2.4 Path (Dukkha Nirodha Gamine Patipada) The practice that leads to the cessation of suffering. This is the Noble Eightfold Path.

(1.) Right view

(2.) Right thinking

(3.) Right speech, right speech

(4.) Right action

(5.) Samma Ajivo livelihood like

(6.) Samawayama, right perseverance

(7.) Right mindfulness, right mindfulness

(8.) Right concentration of the mind

The matter that can be summed up as a preliminary understanding is that, in summary, the life which consists of the five aggregates (form, feeling, perception, body, and spirit) is suffering from birth until death. People go in and hold on to them. They are suffering. It is still a normal picture, not ingrained deeply into the truth of life. There must be birth, old age, sickness and death, there is a state of vanity, dukkha, and profound anatta. One can see the continuity to the next life or go back to the past millions of kilometers. That is the power of boredom in the cycle of sorrow. until the cause of dissatisfaction with the loosening of commitment until he was able to purify the internal defilements, that is, the three lusts, to be completely dissolved. The Path is attained immediately as soon as the defilements are cleansed from the displeasure itself (which He has shown in the Anatala during the Sutra until the five supreme pancavakeys attain enlightenment at the same time).

 

And in fact, this first sermon was thus the appearance of Himself, proclaiming Him: His Highness attained enlightenment or is the proclamation of the new Buddha itself but he stated that being a Buddha How do you have to practice Dharma 3 times 12 behaviors? The reality that has round 3 has these 12 symptoms in the Four Noble Truths. And that is the essence of the Dhammacakkappavattana Sutta. The spinning wheel of Dharma, no other chakra can resist.

 

final chapter

and when understanding Majjhimapatipada, the 8th Path, and the 4 Noble Truths, in general, let's take a closer look at these three 12 manifestations in the 4 Noble Truths, which are the principles of high dharma practice. Level of aiming to achieve Bodhiyun Like this Buddha, the recluse Gotama, whose disciples, disciples, people, men and women can be perfect examples, as I would like to abbreviate, to make it easy to understand what He has announced or told. In the first sermon, the subject was as follows:

1. Suffering

1.1 He asceticed until the birth of the eye, wisdom, wisdom, and light (Chakhung Udapadi, Janang Udapadi, Panya Udapadi, Wijja Udapadi, Aloko Udapadi). Knowing that this is the Noble Truth of Suffering (that is, He knows that this is the supreme truth of the suffering of life and all things without any doubt).

1.2 He asceticed until the birth of the eye, wisdom, wisdom, and light (Chakhung Udapadi, Janang Udapadi, Panya Udapadi, Wijja Udapadi, Aloko Udapadi). Knowing that the noble truth is suffering and the truth that should be defined (that is, it is necessary to have a thorough and thorough knowledge of everything involved and every step without any doubt)

1.3 He was able to perform the virtues until the birth of the eye, wisdom, wisdom, and light (Chakhung Udapadi, Janang Udapadi, Panya Udapadi, Wijja Udapadi, Aloko Udapadi). Knowing the Noble Truth is Suffering without any doubt)

2. Samuthai (Sukha Samuthai)

2.1 He asceticed until he was born, clairvoyance, wisdom, wisdom and light (Chakhung Udapadi, Janang Udapadi, Panya Udapadi, Wijja Udapadi, Aloko Udapadi). Knowing the Noble Truth is Suffering Cause of Suffering (that is, He knows that this is the ultimate truth of the cause of suffering of life and all things without doubt)

2.2 He asceticed until the birth of the eye, wisdom, wisdom, and light (Chakhung Udapadi, Janang Udapadi, Panya Udapadi, Wijja Udapadi, Aloko Udapadi). knowing that the Noble Truth of Suffering is the right thing should be cut off (that is, He knows that this is the supreme truth of the sufferings of life and all things without any doubt that must stop cutting off and not practice this cause of suffering)

2.3 He asceticed until the birth of the eye, wisdom, wisdom, and light (Chakhung Udapadi, Janang Udapadi, Panya Udapadi, Wijja Udapadi, Aloko Udapadi). has abandoned the Noble Truth of Suffering, the cause of suffering (that is, He has abandoned, not doing, or cutting off from kamatanha, bhava-tanha, and vibhava-tanha, which is the cause of suffering.)

3. Nirodha (Dukkha Nirodha)

3.1 He asceticed until the birth of the eye, wisdom, wisdom, and light (Chakhung Udapadi, Janang Udapadi, Panya Udapadi, Wijja Udapadi, Aloko Udapadi). enlightenment the noble truth of the cessation of suffering

3.2 He asceticed until the birth of the eye, wisdom, wisdom, and light (Chakhung Udapadi, Janang Udapadi, Panya Udapadi, Wijja Udapadi, Aloko Udapadi). Knowing the Noble Truth of Suffering that it is fair that should be known

3.3 He asceticed until the birth of the eye, wisdom, wisdom, and light (Chakhung Udapadi, Janang Udapadi, Panya Udapadi, Wijja Udapadi, Aloko Udapadi). Realizing the Noble Truth of Suffering: He said: I have realized the Noble Truth of Suffering.

4. The Noble Path (Noble Path) The cessation of suffering

4.1 Ascetic asceticism until the birth of wisdom, wisdom, wisdom, and light (Chakhung Udapadi, Janang Udapadi, Panya Udapadi, Wijja Udapadi, Aloko Udapadi). enlightenment of the Noble Truth of the Path that is the cessation of suffering

4.2 He asceticed until the birth of the eye, wisdom, wisdom, and light (Chakhung Udapadi, Janang Udapadi, Panya Udapadi, Wijja Udapadi, Aloko Udapadi). Knowing that the Noble Truth of the Noble Path is a dharma that should be trained

4.3 He asceticed until the birth of the eye, wisdom, wisdom, and light (Chakhung Udapadi, Janang Udapadi, Panya Udapadi, Wijja Udapadi, Aloko Udapadi). has fully cultivated the Noble Truth that leads to the cessation of suffering.

This is the majesty, what He has fully accomplished. Completely complete, there are 3 rounds, with 12 symptoms, as shown by His Highness. As can be seen from the word, he continued to say that

Look, monks. As long as wisdom sees the truth of the third cycle, there are twelve symptoms in the Four Noble Truths. not yet pure for the Tathagata. Look, monks. As long as the Tathagata has not vowed to be the supreme enlightenment in the world with devas, Mara and Brahmas among beings with recluses and brahmins, along with devas and humans.

Look, monks. As long as wisdom sees the truth of the third cycle, there are twelve symptoms in the Four Noble Truths. completely to the Tathagata Look, monks. Then the Tathagata vowed to be the supreme enlightenment in the world with devas, Mara and Brahmas among the beings with recluses and brahmins, along with devas and humans.

Well, the wisdom of seeing has come to us. that our special cessation does not relapse This nation is finally Now there is no more birth

The Blessed One has spoken this Dharma Chakra. The monk Panchawakkee rejoiced in His proverbs as follows:

the end

When the Blessed One was preaching this Dharma Chakra The eyes saw the Dharma without dust and without any blemish. It was born to Lord Kondanya saying: “Something is naturally occurring. the whole thing It must be destroyed as usual.”

At that time, the Blessed One exclaimed: "You guys Kondanya knows it, you know it, Kondanya knows it." Therefore, Kondanya came up with this name: "Anya Kondanya Lord Kondanya, who knows." So.

45 years later, he preached the supreme Dharma that gave knowledge and enlightenment of the truth of life leads to liberation. at the sorrow to the eternal happiness of the world of nirvana Many became scriptures, Tripitaka, 84000 Dharma Khan, which all explained and expanded from this whole Dhammacakkappavattana Sutta.

This year's Asanha Bucha Day, July 24, 2021, is therefore a day to commemorate the light of the Buddha Dharma that rises up and illuminates the world. the same level as today And in the future for a long time, counting to the next 5000 years.....

-----

-----

 

 

  




5..NWE.5..คำอธิบายสัจธรรมแห่งชีวิต เรื่องทุกข์ เรื่องอนิจจัง และเรื่อง อนัตตา ตามพระสูตรทุกถ้อยคำในพ

5.1..NWE.5..อนัตตา1..รูปัง ภิกขะเว อะนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย รูปเป็นอนัตตา สกัดวาทะประเด็นอริยมรรคโดยเฉพาะ ถวายจ.อ.วังหิน มรณภาพ
5.2..NWE.5..อนัตตา2..Alex Joy อนัตตะลักขณะสูตร วิวาทะธรรมพิจารณ์
5.3..NWE 5..อนัตตา3..พระพุทธเจ้าตรัสอะไรในอนัตตะลักขณะสูตร ? พาตามพุทธวาทะทุกคำในพระสูตร เรารู้อะไร จากอนัตตลักขณะสูตร ? เรารู้แล้วหรือยัง ?
5.4..NWE.5..อนัตตา4..อนัตตะลักขณะสูตร บทสรุป พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไรในอนัตตลักขณสูตร?
5.5..NWE5..อนัตตา5..อัตตา-อนัตตา, นิจจัง –อนิจจัง, เป็นทุกขอริยสัจ มีมาจากเหตุคือสมุทัยอริยสัจ ความรู้แจ้งอย่างไรนำไปสู่มรรคผลนิพพานในทันทีทันใดได้?
6.2..NEW 5..ธัมมจักก2..วันอาสาฬหบูชา วันที่พระพุทธเจ้าแสดงปฐมเทศนาแด่ปัญจวัคคีย์ สกัดวาทะประเด็นมรรคผลนิพพานโดยเฉพาะ
6.3..Nwe.5..ธัมมจักก3..ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร จักรคือธรรมไม่มีจักรอื่นต้านทานได้ พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร?ธรรมะคืออะไร?
6.4..NWE 5..ธัมมจักก4..ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร สิ่งที่ควรรู้ควรเข้าใจจริง ๆ อยู่ตรงไหน?



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
----- ***** ----- โปรดใช้บริการการแปลของ Google Translate นี่คือเวบไซต์คู่ www.newworldbelieve.com กับ www.newworldbelieve.net เราให้เป็นเวบไซต์ที่เสนอธรรมะหรือ ความจริง หรือ ความคิดเห็นในเรื่องราวของชีวิต ตั้งใจให้ธัมมะเป็นทาน ให้สิ่งที่เป็นประโยชน์แด่คนทั้งหลาย ทั้งโลก ให้ได้รู้ความจริงของศาสนาต่าง ๆในโลกวันนี้ และได้รู้ศาสนาที่ประเสริฐเพียงศาสนาเดียวสำหรับโลกยุคใหม่ จักรวาลใหม่ เราได้อุทิศเนื้อที่ทั้งหมดเป็นเนื้อที่สำหรับธรรมะทั้งหมด ไม่มีการโฆษณาสินค้า มาแต่ต้น นับถึงวันนี้ร่วม 14 ปีแล้ว มาวันนี้ เราได้สร้างได้ทำเวบไซต์คู่นี้จนได้กลายเป็นแดนโลกแห่งความสว่างไสว เบิกบานใจ ไร้พิษภัย เป็นแดนประตูวิเศษ เปิดเข้าไปแล้ว เจริญดวงตาปัญญาละเอียดอ่อน เห็นแต่สิ่งที่น่าสบายใจ ที่ผสานความคิดจิตใจคนทั้งหลายด้วยไมตรีจิตมิตรภาพล้วน ๆ ไปสู่ความเป็นมิตรกันและกันล้วน ๆ วันนี้เวบไซต์ สื่อของเราทั้งหมดนี้ ได้กลายเป็นแดนสนุกน่าท่องเที่ยวอีกโลกหนึ่ง ที่กว้างใหญ่ไพศาล เข้าไปแล้วได้พบแต่สิ่งที่สบายใจมีความสุข ให้ความคิดสติปัญญา และได้พบเรื่องราวหลายหลากมากมาย ที่อาจจะท่องเที่ยวไปได้ตลอดชีวิต หรือท่านอาจจะอยากอยู่ณโลกนี้ไปชั่วนิรันดร และซึ่งเป็นโลกหรือบ้านของท่านทั้งหลายได้เลยทีเดียว ซึ่งสำหรับคนต่างชาติ ต่างภาษาต่างศาสนา ได้โปรดใช้การแปลของ กูเกิล หรือ Google Translate แปลเป็นภาษาของท่านก่อน ที่เขาเพิ่งประสบความสำเร็จการแปลให้ได้แทบทุกภาษาในโลกมนุษย์นี้แล้ว ตั้งแต่ต้นปีนี้เอง นั้นแหละเท่ากับท่านจะเป็นที่ไหนของโลกก็ตาม ทั้งหมดโลกกว่า 8 พันล้านคนวันนี้ สามารถเข้ามาท่องเที่ยวในโลกของเราได้เลย เราไม่ได้นำท่านไปเที่ยวแบบธรรมดาๆ แต่การนำไปสู่ความจริง ความรู้เรื่องชีวิตใหม่ การอุบัติใหม่สู่ภาวะอริยบุคคล ไปสู่การเปลี่ยนแปลงไปพ้นจากทุกข์ ที่สรรพสิ่ง ล้วนเดินไปสู่โลกาวินาสน์ในวันข้างหน้า ภาวะอริยบุคคลจะนำคนทั้งหลายไปสู่โลกแห่งความสุขแท้นิรันดร คือโลกนิพพานขององค์บรมศาสดาพุทธศาสนา พระบรมครูพุทธะ องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพียงแต่ท่านโปรดใช้บริการการแปลของ Google Translate ท่านก็จะเข้าสู่โลกนี้ได้ทันทีพร้อมกับคน 8 พันล้านคนทั้งโลกนี้. ----- ***** ----- • หมายเหตุ เอาขึ้นเวบไซต์ แทนของเดิม ทั้ง 2 เวบ .net .com วันที่ 21 เม.ย. 2565 เวลา 07.00 น.